วันพุธที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

เชื้อไวรัส MERS คืออะไร ไม่มีวัคซีนหรือยารักษาได้จริงหรือ ทางเลือกในการป้องกันตัวเองคืออะไร

MERS เป็นเชื้อไวรัสประเภทหนึ่ง สายพันธุ์คล้ายกับเชื้อไวรัสซาร์สที่เคยอาละวาดหลายปีก่อนในแถบตะวันออกกลางคือ ซาอุดิอาระเบีย มีผลให้คนตายไปเยอะ แล้วก็หายไป จนมาพบอีกครั้งในปีนี้ที่ประเทศเกาหลี พบผู้ป่วยที่ได้รับเชื้อไวรัสเมอร์สกระจายไปคลีนิคหลายแห่งและโรงพยาบาล ทำให้ผู้ที่ได้รับการติดเชื้อเมอร์สส่วนใหญ่ เป็นบุคลากรทางการแพทย์ เช่น ผู้ช่วยพยาบาล พยาบาล รวมถึงแพทย์ 



อาการของผู้ที่ได้รับเชื้อนี้เข้าไปก็คล้ายการได้รับเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ แต่จะรุนแรงกว่า เช่น เป็นไข้ ปวดหัว หายใจไม่สะดวก ท้องเสีย เชื้อไวรัสเมอร์สจะแพร่ติดต่อทางอากาศ ในรูปแบบละอองฝอย (droplet) ทำให้ต้องระมัดระวังหลีกเลี่ยงการถูกไอจามพุ่งเข้าใส่ผู้คนรอบข้างตรงๆ อีกทั้งเชื้อไวรัสสามารถเกาะติดตามพื้นผิวต่างๆได้ด้วย เชื้อไวรัสเมอร์สสามารถมีชีวิตได้ 8-12 ชั่วโมงตามพื้นผิว หากคนไม่สัมผัสถูกเชื้อเมอร์ส แล้วมาป้ายตาป้ายปาก ขยี้แคะจมูก ก็สามารถติดเชื้อเมอร์สได้เช่นกัน


เชื้อไวรัสเมอร์สจะแพร่ติดต่อกับทุกเพศทุกวัย แต่มักแสดงอาการรุนแรงหรือถึงแก่ชีวิต ในกลุ่มคนสูงอายุหรือเด็ก เนื่องจากมีภูมิต้านทานต่ำกว่ากลุ่มประชากรอื่น ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันหรือยาที่รักษาได้ การให้ความช่วยเหลือเป็นการบรรเทาตามอาการต่างๆที่เกิดขึ้น เช่น ให้ลดไข้ ช่วยหายใจ




อย่างไรก็ตาม มีการศึกษาพบว่าเชื้อไวรัสไม่ว่าจะสายพันธุ์ไหนก็ตาม ความแตกต่างจะอยู่ที่ชนิดโปรตีนที่ประกอบใน DNA หรือ RNA  แต่เปลือกนอกหรือผนังเซลล์ที่ห่อหุ้มเชื้อไวรัสอยู่ จะมีส่วนประกอบเหมือนกันคือ Peptidoglycan ที่มี H-bond เป็นพันธะที่ดึงกันไว้ ทำให้เกิดเป็นเปลือกนอกห่อหุ้มของเหลวและ DNA ที่อยู่ข้างใน


การวิจัยทดสอบได้เกิดเทคโนโลยี่ใหม่ที่มีสารหรือสิ่งที่ไปดึง H-bond ให้แยกออกมาได้ ทำให้เปลือกนอกหรือผนังเซลล์ชั้นเดียวที่มีของเชื้อไวรัสแตกออกได้ เชื้อไวรัสก็ไม่สามารถคงสภาพต่อไปได้ หรือที่ภาษาชาวบ้านเรียกว่าถูกทำลายนั่นเอง เทคโนโลยี่เหล่านี้ถูกพัฒนาคิดค้นโดยชาร์ป ภายใต้ชื่อ อนุภาค "พลาสม่าคลัสเตอร์" ในรูปแบบทางวิทยาศาสตร์ที่เรียกว่า active hydroxyl มีสูตรทางเคมีว่า OH  มีคุณสมบัติพิเศษที่ไปดึงพันธะไฮโดรเจนที่ว่านี้ได้จากผนังเซลล์เชื้อไวรัส ทำให้เชื้อไวรัสถูกทำลายทันทีที่โดนอนุภาคพลาสม่าคลัสเตอร์ หรือ เข้าไปในโซนที่พลาสม่าคลัสเตอร์มีอยู่

แต่การศึกษาก็พบว่าการทำลายเชื้อไวรัสแบบละอองฝอย อาจต้องใช้อนุภาคพลาสม่าคลัสเตอร์ที่มีความเข้มข้นสูงระดับ 25,000 ไอออนต่อซีซี ให้ผลที่ดีกว่า (จากการศึกษาทดสอบของสถาบันไวรัสวิทยา รีโทรสกรีน ประเทศอังกฤษ)

มนุษย์กับเชื้อไวรัส คงต้องสู้รบกันอีกนานเพื่อความอยู่รอดของตนเอง การเกิดสายพันธุ์ใหม่ๆของเชื้อไวรัสก็เช่นกัน มีเกิดขึ้นหลากหลายในทุกๆปี มนุษย์ควรเรียนรู้ที่จะอยู่กับมัน หรือมีทางเลือกในการป้องกันตัวเองจากเชื้อไวรัส เพราะอย่างไรก็คงหนีกันไม่พ้นแน่นอน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น